• Welcome to ลงประกาศฟรี โพสฟรี โปรโมทเว็บไซด์ให้ติดอันดับ SEO ด้วย PBN.
 

poker online

ปูนปั้น

ถังดับเพลิงราคาถูก2

Started by Beer625, August 14, 2024, 10:51:22 AM

Previous topic - Next topic

Beer625

ควรใช้ถังดับเพลิงแบบไหนเมื่อเกิดเพลิงไหม้รถไฟฟ้า? รถยนต์ไฟฟ้าแบบใช้แบตเตอรี่ แบตเตอรี่ Lithium-Ion ในรถยนต์ EV ไม่มีโลหะลิเทียมเป็นส่วนประกอบของแบตเตอรี่ ไฟที่เกิดจากรถยนต์ EV จึงไม่ใช่ไฟ Class D หรือไฟที่เกิดจากโลหะซึ่งห้ามใช้น้ำดับไฟ
ดังนั้นเพลิงไหม้รถยนต์ EV จึงสามารถใช้น้ำดับได้
3 ปัจจัยที่ทำให้เกิดไฟไหม้ได้แก่ 1.เชื้อเพลิง 2.ออกซิเจน 3.ความร้อน สิ่งที่ช่วยลดความร้อนได้ดีที่สุดคือการใช้น้ำดับเพลิงไหม้ 
ประเภทของไฟออกเป็น 5 ชนิด ตามชนิดของเชื้อเพลิง ซึ่งมีวิธีดับไฟที่แตกต่างกันดังนี้  
1. Class A ไฟที่เกิดจากการเผาไหม้ของของแข็ง เช่น ไม้ กะดาษ ผ้า ยาง ขยะ และพลาสติก  
2. Class B ไฟที่เกิดจากของเหลวที่ติดไฟได้ง่าย เช่น น้ำมันและแอลกอฮอล์  
3. Class C ไฟที่เกิดจากไฟไหม้อุปกรณ์ไฟฟ้าต่าง ๆ  
4. Class D ไฟที่เกิดจากการลุกไหม้ของโลหะ เช่น แมกนีเซียม ไทเทเนียม และลิเทียม  
5. Class K ไฟที่เกิดจากการลุกไหม้ของอุปกรณ์ในห้องครัว  
แม้การใช้น้ำดับไฟจะได้ผลดีกับไฟชนิด Class A แต่ไม่สามารถใช้น้ำดับไฟชนิด Class D ได้ เนื่องจากน้ำจะไปทำปฏิกิริยาทางเคมีจนเกิดการลุกไหม้รุนแรงยิ่งขึ้น  จากการที่รถยนต์ EV ใช้แร่ลิเทียมเป็นส่วนประกอบของแบตเตอรี่ จึงมีความเชื่อว่าเพลิงไหม้ในรถยนต์ EV คือไฟ Class D และไม่สามารถใช้น้ำในการดับไฟได้ แท้จริงแล้ว เพลิงไหม้ในรถยนต์ EV ไม่จัดเป็นไฟ Class D เนื่องจากไม่ได้ใช้โลหะลิเทียมเป็นส่วนประกอบของแบตเตอรี่




ความแตกต่างระหว่าง Lithium Metal Battery และ Lithium-Ion Battery  
Lithium Metal Battery คือแบตเตอรี่ที่ใช้โลหะลิเทียมเป็นวัสดุขั้วลบ ส่วนใหญ่เป็นแบตเตอรี่ที่ไม่สามารถชาร์จไฟได้ เช่น ถ่านไฟฉาย ถ่านนาฬิกา  
Lithium-Ion Battery คือแบตเตอรี่ที่ใช้กราไฟต์เป็นวัสดุขั้วลบ เป็นแบตเตอรี่ที่สามารถชาร์จไฟได้ ใช้อย่างแพร่หลายในอุปกรณ์ไฟฟ้าและรถยนต์ EV  เนื่องจาก แบตเตอรี่ Lithium-Ion ในรถยนต์ EV ไม่มีโลหะลิเทียมเป็นส่วนประกอบ ดังนั้นเพลิงไหม้ที่เกิดจากแบตเตอรี่ Lithium-Ion จึงไม่จัดเป็นไฟ Class D จึงสามารถใช้น้ำเพื่อการดับเพลิงได้  
สมาคมป้องกันอัคคีภัยแห่งชาติสหรัฐอเมริกา (NFPA) ยืนยันว่า การดับเพลิงไหม้รถยนต์ EV ที่เกิดเพลิงไหม้อย่างเหมาะสม คือการฉีดพ่นน้ำปริมาณมากไปยังแบตเตอรี่ เป็นวิธีที่ดีที่สุด เพื่อป้องกันการเกิดปฏิกิริยา Thermal Runaway ซึ่งจะทำให้แบตเตอรี่ Lithium-Ion มีอุณหภูมิสูงจนเกิดเพลิงไหม้หรือการระเบิดซ้ำได้  ศูนย์วิจัยป้องกันอัคคีภัยของ NFPA ยืนยันว่า การใช้น้ำดับเพลิงไหม้รถยนต์ EV ไม่ทำให้พนักงานดับเพลิงมีความเสี่ยงจากการถูกไฟฟ้าดูด ส่วนการช่วยเหลือผู้ประสบภัยที่อยู่ในรถยนต์ EV ผู้เชี่ยวชาญก็ยืนยันว่าไม่มีความแตกต่างจากรถยนต์ประเภทอื่นเช่นเดียวกัน  นอกจากใช้น้ำดับเพลิงไหม้รถยนต์ EV ได้แล้ว ยังจำเป็นต้องใช้น้ำปริมาณมากเพื่อควบคุมเพลิงที่อาจปะทุได้ทุกเมื่อจากปฏิกิริยา Thermal Runaway  อิเล็กโทรไลต์ซึ่งทำหน้าที่นำไฟฟ้าขั้วบวกและขั้วลบในแบตเตอรี่ Lithium-Ion ยังเป็นส่วนประกอบที่ติดไฟได้ง่าย จึงทำให้เพลิงไหม้จากรถยนต์ EV ที่ใช้แบตเตอรี่ Lithium-Ion ดับไห้ยากกว่ารถยนต์ทั่วไป และความร้อนจากเพลิงไหม้รถยนต์ EV ยังมีอุณหภูมิสูงกว่าเพลิงไหม้รถยนต์ทั่วไปหลายเท่า  
เพื่อลดปริมาณน้ำในการดับเพลิงไหม้รถยนต์ EV จึงมีการหาวิธีต่าง ๆ เพื่อลดการใช้น้ำดับเพลิงไหม้รถยนต์ EV เช่น การใช้ผ้าคลุมชนิดพิเศษที่ไม่ติดไฟ มาคลุมรถยนต์ EV ที่เกิดเพลิงไหม้ เพื่อจำกัดการสัมผัสกับออกซิเจน ร่วมกับการฉีดน้ำเพื่อลดอุณหภูมิของตัวรถ  
ปัจจุบันได้มีถังดับเพลิงที่มีสารดับเพลิงประเภท แบตเตอรี่ Lithium-ion ซึ่งใช้ดับไฟไหม้รถยนต์ EV มักจะติดตั้งให้เห็นกันบริเวณสถานีชาร์จแบตรถไฟฟ้า
https://www.[url=https://www.xn--12cfia8dke3a0b1cu3lctb1a5gvf.com/]ถังดับเพลิงราคาถูก.com/[/url]https://www.xn--12cfia8dke3a0b1cu3lctb1a5gvf.comhttps://www.xn--12cfia8dke3a0b1cu3lctb1a5gvf.com/17439101/ควรใช้ถังดับเพลิงแบบไหนเมื่อเกิดเพลิงไหม้รถไฟฟ้า